ข้อมูลทางด้าน GIS แบ่งประเภทข้อมูลออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
ข้อมูลเชิงตำแหน่ง (Spatial data) เป็นข้อมูลที่สามารถอ้างอิงกับตำแหน่งทางภูมิศาสตร์ (Geo-referenced)
▪ตำแหน่ง (location)
▪รูปร่าง (shape)
ข้อมูลที่ไม่อยู่ในเชิงตาแหน่ง (Non-spatial data) เป็นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับคุณลักษณะต่างๆ ในพื้นที่นั้นๆ (Attribute data)
▪ข้อมูลคุณลักษณะของ spatial data

การได้มาซึ่งข้อมูล GIS

  1. ข้อมูลรูปภาพ
  2. ข้อมูลจากเครื่องGPS
  3. การสแกนข้อมูลเป็นไฟล์ดิจิตอล
  4. การแปลงข้อมูลจากไฟล์ข้อมูลราสเตอร์

การนำข้อมูล GIS ไปใช้งาน สามารถแยกได้ 2 แบบ ดังนี้

1. ข้อมูล Vector

1. จุด (Point) วัตถุเชิงพื้นที่ที่ไม่มี (ขนาด) พื้นที่
2. เส้น (Line) วัตถุเชิงพื้นที่ที่เกิดจากลาดับที่ต่อเนื่องกันของจุด โดยยังไม่มีความกว้าง
3. พื้นที่รูปปิด (Polygon) วัตถุเชิงพื้นที่ที่เป็นพื้นที่ปิด หรือมีเส้นรอบรูป

2.ข้อมูล Raster
1. ข้อมูลอยู่ในรูปแบของภาพ (image)
2. หน่วยที่เล็กที่สุดเรียกว่า pixel
3. มีลักษณะรูปร่างเป็นสี่เหลี่ยม (Grid)

 

วิธีการสร้างข้อมูล Vector โดยใช้โปรแกรม QGIS

 

1. เปิดโปรแกรม QGIS  และซูมหาพื้นที่ที่ต้องการสร้างข้อมูลจุด  เส้น  และรูปปิดพื้นที่

2. การสร้าง Shape file  เลือกตรง New Shape file Layer

3. เลือกประเภทของ Shape file  และการสร้าง attribute ข้อมูล และเลือกที่สำหรับการเก็บข้อมูล

 

4. สร้าง Shape file ให้ครบถามที่ต้องการ ( Point Line Polygon )

5.การสร้าง line ที่ต้องการ เลือกพื้นที่ที่ต้องการสร้าง เลือกชั้นข้อมูล Line >> Toggle Editing   เลือกตรง  Add  Feature 

6. วาดเส้นบริเวณที่ต้องการ เมื่อวาดเสร็จให้คลิกขวาหนึ่งครั้ง  และใส่ข้อมูลใน Attribute ใส่เฉพาะข้อมูลที่เรารู้

7. เมื่อสร้างข้อมูล Shape file เสร็จ ให้คลิกตรง Toggle Editing หนึ่งครั้ง >> กด Save

8. ถ้าต้องการสร้างข้อมูล Point หรือ Polygon ให้ทำเหมือนกับการสร้างข้อมูล Line

9. ข้อมูล Shape file ที่ได้